เก็บตกบรรยากาศคอร์สเรียนเดี่ยว StaadPRO CE. ที่ห้องเรียนวันชัยติวเตอร์ กับ K.Kittiphop (27-28 Apr-2024) (โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง จัดทำรายการคำนวณ บ้าน อาคาร Warehouse ทั้งงานเหล็กและงานคอนกรีต)

เก็บตกบรรยากาศคอร์สเรียนเดี่ยว StaadPRO CE. ที่ห้องเรียนวันชัยติวเตอร์ กับ K.Kittiphop (27-28 Apr-2024)
(โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง จัดทำรายการคำนวณ บ้าน อาคาร Warehouse ทั้งงานเหล็กและงานคอนกรีต)
สนใจเรียนติดต่อ Line ID : wanchai2985
หัวข้อการเรียนการสอน
การใช้งานโปรแกรม STAAD PRO CE สำหรับวิเคราะห์โครงสร้างงานเหล็กและคอนกรีต
1. ทฤษฎีและหลักการ Design วิเคราะห์และขีดความสามารถของโปรแกรม StaadPRO CE.
2. ทำความเข้าใจกับหลักการออกแบ Design 8 ขั้นตอนหลักของ StaadPRO CE.
* Analytical modeling (สร้างโมเดล Single line )
* Properites (กำหนดหน้าตัดเหล็กให้กับ Model Single line)
* Material (กำหนดวัสดุให้กับ Model เช่น เหล็ก H-beam, C, Angle, Pipe)
* Specifications (ระบุแรงกระทำ Special case การปลด Moment ต่างๆ)
* Support (กำหนด Support, Foundation ให้กับอาคาร)
* Loading (กำหนดภาระ Load ต่างๆ Dead Load, Light load, Winload, Secimic, Combination Load)
* Analysis (ระบุรูปแบบการวิเคราะห์)
* Design (กำหนด Code ให้เหมาะกับโมเดล Run Model)
3. เริ่ม Project และการตั้งค่าก่อนเริ่มวิเคราะห์โปรแกรม
– New File กำหนดชื่อโครงการและรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
– การปรับเปลี่ยนหน่วย
4. เรียนรู้เครื่องมือพื้นฐานก่อนการใช้งานทั้งหมด
4.1 กลุ่มคำสั่ง Geometry
4.1.1 กลุ่มคำสั่ง Structure :
– การตั้งค่าก่อนเริ่มการใช้งานและหน่วย Unit
– การสร้าง Grid line, Beam Grid
– การใช้งานคำสั่ง Translation repeat, Link Step
– การใช้งานคำสั่ง Circular repeat
– การใช้งานคำสั่ง Copy, Move
– การใช้งานคำสั่ง Mirror
4.1.2 กลุ่มคำสั่ง Node :
– การ Insert Node ในรูปแบบต่างๆ
– การ Copy node, Move node, Merge Node
4.1.3 กลุ่มคำสั่ง Beam :
– การ Add beam สร้าง Beam แบบทั่วไปเส้นตรง Linear
– การ Add beam สร้าง Curve Beam แบบโค้ง เส้นโค้งป้อนรัศมี
– การใช้งานคำสั่ง Intersection ย่อย Beam และตัด
– การใช้งานคำสั่ง Stretch Beam ยืด Beam
– การใช้งานคำสั่ง Merge Beam รวม Beam ให้เป็นท่อนเดียวกัน
4.1.4 กลุ่มคำสั่ง Plate :
– การสร้าง Plate โดยใช้คำสั่ง Rectangular Plate
– การสร้าง Plate โดยใช้คำสั่ง Triangle Plate
4.2 กลุ่มคำสั่ง View :
– การใช้งานกลุ่มคำสั่ง Zoom ต่างๆ
– การปรับเปลี่ยนมุมมอง View, View management
– Display option การตั้งค่าการแสดงผล
4.3 กลุ่มคำสั่ง Select :
– การเลือกวัตถุแบบ Filter (Node, Beam,Plate, Solid)
– การเลือกวัตถุแบบ Parallel (X,Y,Z)
– การเลือกวัตถุแบบ Properties (material, Section, Missing properties)
– Mode การเลือกวัตถุแบบ Drag Box, Drag Line, Region
5. กำหนดหน้าตัด Section เหล็กให้กับ Single line Model
o Section Database
o กำหนด Properties ในรูปแบบต่าง Assignment Method
– Assign to Selected beams
– Use cursor to Assign
– Assign to Edit list
– Assign to View
6. กำหนด Material ให้กับ Section หน้าตัดเหล็ก
o ปรับเปลี่ยนและตั้งค่า Steel ให้เป็น SS400
o กำหนดค่าต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสม
o กำหนด Material ให้กับ single line Model ในรูปแบบต่างๆ Assignment Method
7. ออกแบบ Support ฐานรากอาคารในรูปแบบต่างๆ
– แบบ Fix (Fx,Fy,Fz and Mx,My,Mz)
– แบบ Pin (Fx,Fy,Fz and Mx,My,Mz)
8. การกำหนดแรง Loading ในลักษณะต่างๆ
– กำหนด Dead Load โหลดองค์อาคาร
– กำหนด Light Load ภาระจรในรูปแบบต่างๆ
– กำหนด Roof Load ภาระโหลดหลังคา
– กำหนด Wind Load แรงลมในรูปแบบต่างๆ
– กำหนด Combination Load
9. การใช้งาน Analysis ในลักษณะต่างๆ ที่จำเป็น
– กำหนดเป็นรูปแบบ Perform Analysis
– ปรับเปลี่ยน Define command ให้เหมาะสมและถูกต้อง
10. การตั้งค่าเพื่อ Run Analysis (Design)
– เลือก Command (Check code)
– เลือก Command (Steel Take OFF)
– ตรวจสอบ Error และวิธีการแก้ไข Error
11. การตรวจสอบค่า Ratio หลังจาก Run Analysis
– ปรับแก้หน้าตัด Section ให้เหมาะสมกับค่า Ration
– ปรับเปลี่ยนรูปแบบ Design เช่น การเสริมความแข็งแรง Support
12. Advance Concrete design
12.1 ออกแบบและวิเคราะห์คานคอนกรีต Beam
12.2 ออกแบบและวิเคราะห์คอนกรีต Column
12.3 ออกแบบและวิเคราะห์พื้น Floor slap
13. Foundation design (Footing ฐานราก)
-13.1 ออกแบบและวิเคราะห์ Footing ฐานราก
14. จัดทำ Report รายการคำนวณประกอบแบบ Calculation sheet
– Calculation of Steel structure
– Calculation of Concrete (Beam, Column, Floor)
– Caluclation of Foundation (footing, Pile)
15. Create BOQ แบบอัตโนมัติหลัง Design complete พร้อมประเมินราคางานคอนกรีต
16. Export file from StaadPRO to AutoCAD2D
– Shop drawing detail, Section drawing for Beam, Column, Floor, Footing
– Export file from StaadPRO to AutoCAD3D
– Export file from StaadPRO to SketchUP
– Export file from StaadPRO to Tekla structure
17. Import file SketchUP to StaadPRO
– นำไฟล์จาก SketchUP เข้าสู่โปรแกรม StaadPRO
18. Workshop ทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน (อ้างอิงจากงานจริง)
– Workshop ที่ 1 : ร้านกาแฟขนาดเล็กโครงสร้างง่ายๆ 4*6 เมตร (โครงเหล็ก)
– Workshop ที่ 2 : บ้านชั้นเดี่ยว 8*15 เมตร (คอนกรีตเสริมเหล็ก+โครงเหล็ก)
– Workshop ที่ 3 : อาคารพาณิชย์สามชั้น (คอนกรีตเสริมเหล็ก+โครงเหล็ก)
– Workshop ที่ 4 : โกดัง Warehouse ขนาดใหญ่โครงสร้าง Truss แบบโค้งและทั่วไป 32*48 เมตร
(หมายเหตุ Workshop อาจปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมกับผู้เรียนอีกครั้งหน้างาน)

เกี่ยวกับ wanchai

รับสอนเขียนเเบบด้วย Auto-cad, Solidwork, Tekla จ.ระยอง โดย วันชัยติวเตอร์ (Autocad)
ข้อความนี้ถูกเขียนใน ไม่มีหมวดหมู่ คั่นหน้า ลิงก์ถาวร

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.